วันนี้ (4 ก.พ.) นายจรัส สุวรรณมาลา คณบดีคณะรัฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและในฐานะแกนนำเครือข่ายข้อมูลนักการเมืองไทย หรือ
ทีดีพี แถลงข่าวเปิดตัวสมุดพกนักการเมืองปี 54และ55
ว่าทางเครือข่ายได้จัดทำบันทึกพฤติกรรมและจัดอันดับความสำคัญของนักการเมือง
ในสภาผู้แทนราษฎรที่ได้ทำหน้าที่ของตัวเองคุ้มค่าตอบแทนและความรับผิดชอบที่
มีต่อประชาชนทั้งประเทศหรือไม่ โดยได้รับการสนับสนุนจาก
สำนักงากองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
(สสส.)ให้ทุนมาพัฒนาหน้าที่ของนักการเมืองไทยให้เกิดความโปร่งใส และ
จัดตั้งมูลนิธิตาสว่างโดยจะเปิดตัวในเดือนมี.ค.นี้
สมุดพกนี้ได้บันทึกพฤติกรรมของนักการเมืองในสภาตั้งแต่เดือน ส.ค.ถึง พ.ย. ปี 55 พบว่า ส.ส.ในสภาชุดนี้ เข้าประชุมมากกว่าชุดแรก โดยสถิติเข้าประชุมร้อยละ 89 ซึ่งฝ่ายค้านเข้าประชุมน้อยกว่ารัฐบาลเสมอ มีการลงมติเฉลี่ยร้อยละ 74 เข้าประชุมร้อยละ 95 คำถามว่าหายไปไหนเข้าไปประชุมแล้วแต่ไม่ลงมติ มีกลุ่มที่ิไม่ออกเสียงต่ำกว่าร้อยละ50 ฝ่ายรัฐบาลโหวตออกเสียงร้อยละ 88 ฝ่ายค้านร้อยละ 58 ลงมติเฉลี่ยร้อยละ 95 ตั้งข้อสังเกตว่าสภาชุดนี้ขยันกว่าสภาชุดที่แล้ว ผมไปถาม นายสมศักดิ์ เกรียติสุรนนท์ ประธานสภา บอกว่าได้ทำหลายอย่างจนทำให้ ส.ส. ขยันเข้าประชุมสภามากขึ้น
ทั้งนี้มี ส.ส.เข้าประชุมมากที่สุดเฉลี่ยร้อยละ 75 นายรุ่งโรจน์ ทองศรี ส.ส.พรรคภูมิใจไทย และ ส.ส.ที่มีการออกเสียงต่ำกว่าร้อยละ 25 นายจักรฤกษ ทองศรี พรรคภูมิใจไทยและนายอภิชาติ สุภาแพ่ง พรรคประชาธิปัตย์ ส่วนที่ต่ำสุดร้อยละ 5 นายสราวุฒิ เนื่องจำนงค์ พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งสถิติสภาล้มถึงสองครั้งในปี 55 แต่ในปี54ล้มนับสิบครั้ง
ส.ส.พรรครัฐบาลมีการเข้าประชุมมากแต่ลงมติน้อย พรรคเพื่อไทย ไม่ลงมติมี 5 คน พรรคชาติไทยพัฒนา 1 คน พรรคประชิปัตย์ 9 คน. ทำให้เห็นว่าพรรคใหญ่มีบทบาทนำเสนอร่างญัญัติ กระทู้ และ ส.ส.พรรคเล็กแทบจะไม่ได้ทำงาน กลายเป็นว่าพรรคใหญ่ทำงานให้ประชาขนเป็นหลัก
วัดเรตติ้งการให้ดาว ส.ส.ใครสอบได้สอบตก ดูสถิติเข้าประชุมและการออกเสียงลงมติเรื่องต่างๆ มีส.ส.ได้ 5 ดาวหมายถึงทำงานเต็มความสามารถอยู่ในระดับดีมากถึง 228 คน เป็นร้อยละ 44 ของ ส.ส.ทั้งหมด มี ส.ส.ที่ไม่ได้ดาวเลย จำนวน 7 คนเพราะไม่มีผลงานชัดๆว่าทำอะไรบ้างส่วน น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้ 1 ดาว สถิติการเข้าประชุมร้อยละ 71 สถิติการลงมติร้อยละ 11 สำหรับนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้นำฝ่ายค้านและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ได้ 4 ดาว การประชุมสภาร้อยละ 94 ลงมติร้อยละ 47
นายจรัส กล่าวว่าความเห็นของทีดีพี มีต่อาการทำงานของสภา ชื่นชมการทำงานของประธานสภาและ ส.ส.ทุกพรรคตั้งใจดีกว่าชุดที่แล้ว แต่เรียกร้องให้ ส.ส.ทกคนที่เข้าประชุมต่ำ ให้มีจิตสำนึกให้คุ้มค่าตอบแทนเงินเดือนที่เป็นภาษีของประชาชน สรุปค่าใช้จ่ายของ ส.ส. 1 คนต่อวันต้องจ่ายวันละ 2 หมื่นกว่าบาท โดยคิดเป็นเดือน 6 .3 แสนบาทต่อเดือนถ้าต่อปี 4 ล้านกว่าบาท โดยคิดจากค่าใช่จ่ายตั้งแต่การเลือกตั้ง ต่อส.ส.1 คนใช้จ่าย 5 ล้านบาท ค่าใช่จ่ายใน สภา ต้องจ่ายเงินเดือนสนับสนุนการ ปฏิบัติการของ ส.ส. อีกเดือนละ 5 แสนบาท ปีละ 5 ล้านบาทต่อคน
อยากให้พรรคตรวจสอบกวดขันวินัย การเข้าประชุมต่ำ สถิติเข้าประชุมสูงแต่ลงมติน้อย อาจโดดตอนลงมติ บางคนไม่เสียบบัตรลงคะแนน บางคนไปประชุมกรรมาธิการ ไม่มาโหวตถือว่าไม่ได้ทำหน้าที่ถ้าไม่ดีขึ้นเลือกตั้งครั้งหน้า พรรคต้องตัดสิทธิการเลือกตั้งครั้งหน้าไม่ควรส่ง ถ้าป่วยเป็นเวลานานและปรนะธานสภาอนุญาตให้ลาป่วย สุขภาพไม่ดี มีโรค หรืออายุมาก ก็ไม่ควรส่งครั้งหน้า รวมทั้งไม่สนับสนุนการใช้แทคติก การไม่ลงมติ ไม่แสดงตน ไม่เข้าประชุม บางครั้งบอยคอต วอลเอาส์ เพื่อใช้วิธีนี้เพื่อต่อรองกันเอง
สำหรับสมุกพก สว. เพิ่งทำเป็นปีแรก ไม่มีสถิติในการเข้าประชุมเพราะยังเปิดเผย แต่มีสถิติการลงมติ ร้อยละ 62 การออกเสียงมติร้อยละ 70 จำนวน 64 คน ออกเสียงต่ำกว่าร้อยะละ 50 จำนวน 32 คน ซึ่งการทำงานของ สว.สรรหากับ สว.เลือกตั้งมีการทำงานไม่ต่างกัน จัดเรตติ้ง สว.ใครสอบได้สอบตก มี ส.ว. ได้ 5 ดาว 5 คนและไม่ได้ดาวเลย 3 คน
แกนนำเครือข่ายข้อมูลนักการเมืองไทย กล่าวว่าความเห็นต่อการทำงานของวุฒิสภา อยากเห็นสถิติการเข้าประชุม สว.ทุกสัปดาห์ เปิดเผยผลการทำงานกรรมมาธิการและอนุกรรมมาธิการ ต่อสาธารณะชนให้มากขึ้น ซึ่งการเข้าประชุมต่ำขอให้ได้ตระหนักจริธรรมความรับผิดชอบให้คุ้มต่อหน้าที่ และเงินเดือนด้วย โดยค่าตอบแทนวันละ 2 หมื่นกว่าบาทเท่ากับ ส.ส.
“นายกฯยิ่งลักษณ์ ติดอันดับเข้าประชุมน้อย ลงมติต่ำ เพราะไม่ได้เข้าประชุมครบทุกครั้ง แต่เข้าประชุมน้อยก็ไม่เหมาะสม น่าจะเข้ามากว่านี้ หวังว่าแรงกดดันจากภาคประชาชนทำให้ ส.ส.เข้าประชุมและทำงานให้มากขึ้น ทำสมุดพกแบบนี้ทำให้นักการเมืองรู้สึกว่ามีคนติดตามดูอยู่ ส.ส.ต้องทำหน้าที่นำเสนอกฎหมาย และยื่นญัญัติทำหน้าที่ตรวจสอบรัฐบาล ทั้งการใช้จ่ายงบประมาณในเรื่องข้าว รถคันแรก หน้าที่เหล่านี้ในช่วงหลังแทบจะไม่มีเลย และส.ส.ของพรรคที่เป็นรัฐบาล เป็นส.ส.เฉยๆไม่ค่อยมีบทบาทในสภา บางตระกูลขาดทั้งตระกูล ส.ส.บางจังหวัดไม่สนใจงานสภาเลย แต่คนเหล่านี้ได้เข้ามาได้หมด เพราะไปงานศพงานแต่งงานบ่อย
นายจรัส กล่าวว่าภาพลักษณ์สภาไทยเป็นสภาฝักถั่ว ขอว่าในชั้นนี้ให้แค่ทำหน้าที่ได้ดี อ่านกฎหมายก่อนลงมติ หรือมองประโยนช์หรือเป็นโทษต่อประชาชนหรือไม่ ในกฎหมายสำคัญที่ผ่านสภา ซึ่งการทำหน้าที่ตรวจสอบเป็นหน้าที่ของนักการเมืองในระบบประชาธิปไตย แต่พรรคการเมืองไทยเป็นพรรครับเหมาประเทศ มีคนตั้งพรรคเพื่อ ไปเป็นรัฐบาล เป็น ส.ส. มารับเหมาประเทศและเหมาส.ส.ได้ด้วย ส.ส.กลายเป็นลูกจ้างพรรค ดังนั้นส.ส.พรรครัฐบาลโหวตสวนมติพรรคไม่ได้ ทำให้ ส.ส.ส่วนใหญ่ในสภาไม่สามารถทำหน้าที่ตรวจสอบได้ เพราะเป็นลูกจ้าง อยากให้ ส.ส.นักการเมือง มีการยกระดับพัฒนาตัวเองเป็น ส.ส.มีคุณภาพ โดยคำนึงถึง ประชาชนในพื้นที่ให้มาก ซึ่งเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนด้วยต้องช่วยกันยกระดับสภาไทยให้เกิดเปลี่ยน แปลงประเทศในอนาคต แต่ตอนนี้ขอแค่ให้เข้าประชุมสภาครบทุกครั้งก่อน
สมุดพกนี้ได้บันทึกพฤติกรรมของนักการเมืองในสภาตั้งแต่เดือน ส.ค.ถึง พ.ย. ปี 55 พบว่า ส.ส.ในสภาชุดนี้ เข้าประชุมมากกว่าชุดแรก โดยสถิติเข้าประชุมร้อยละ 89 ซึ่งฝ่ายค้านเข้าประชุมน้อยกว่ารัฐบาลเสมอ มีการลงมติเฉลี่ยร้อยละ 74 เข้าประชุมร้อยละ 95 คำถามว่าหายไปไหนเข้าไปประชุมแล้วแต่ไม่ลงมติ มีกลุ่มที่ิไม่ออกเสียงต่ำกว่าร้อยละ50 ฝ่ายรัฐบาลโหวตออกเสียงร้อยละ 88 ฝ่ายค้านร้อยละ 58 ลงมติเฉลี่ยร้อยละ 95 ตั้งข้อสังเกตว่าสภาชุดนี้ขยันกว่าสภาชุดที่แล้ว ผมไปถาม นายสมศักดิ์ เกรียติสุรนนท์ ประธานสภา บอกว่าได้ทำหลายอย่างจนทำให้ ส.ส. ขยันเข้าประชุมสภามากขึ้น
ทั้งนี้มี ส.ส.เข้าประชุมมากที่สุดเฉลี่ยร้อยละ 75 นายรุ่งโรจน์ ทองศรี ส.ส.พรรคภูมิใจไทย และ ส.ส.ที่มีการออกเสียงต่ำกว่าร้อยละ 25 นายจักรฤกษ ทองศรี พรรคภูมิใจไทยและนายอภิชาติ สุภาแพ่ง พรรคประชาธิปัตย์ ส่วนที่ต่ำสุดร้อยละ 5 นายสราวุฒิ เนื่องจำนงค์ พรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งสถิติสภาล้มถึงสองครั้งในปี 55 แต่ในปี54ล้มนับสิบครั้ง
ส.ส.พรรครัฐบาลมีการเข้าประชุมมากแต่ลงมติน้อย พรรคเพื่อไทย ไม่ลงมติมี 5 คน พรรคชาติไทยพัฒนา 1 คน พรรคประชิปัตย์ 9 คน. ทำให้เห็นว่าพรรคใหญ่มีบทบาทนำเสนอร่างญัญัติ กระทู้ และ ส.ส.พรรคเล็กแทบจะไม่ได้ทำงาน กลายเป็นว่าพรรคใหญ่ทำงานให้ประชาขนเป็นหลัก
วัดเรตติ้งการให้ดาว ส.ส.ใครสอบได้สอบตก ดูสถิติเข้าประชุมและการออกเสียงลงมติเรื่องต่างๆ มีส.ส.ได้ 5 ดาวหมายถึงทำงานเต็มความสามารถอยู่ในระดับดีมากถึง 228 คน เป็นร้อยละ 44 ของ ส.ส.ทั้งหมด มี ส.ส.ที่ไม่ได้ดาวเลย จำนวน 7 คนเพราะไม่มีผลงานชัดๆว่าทำอะไรบ้างส่วน น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้ 1 ดาว สถิติการเข้าประชุมร้อยละ 71 สถิติการลงมติร้อยละ 11 สำหรับนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผู้นำฝ่ายค้านและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ได้ 4 ดาว การประชุมสภาร้อยละ 94 ลงมติร้อยละ 47
นายจรัส กล่าวว่าความเห็นของทีดีพี มีต่อาการทำงานของสภา ชื่นชมการทำงานของประธานสภาและ ส.ส.ทุกพรรคตั้งใจดีกว่าชุดที่แล้ว แต่เรียกร้องให้ ส.ส.ทกคนที่เข้าประชุมต่ำ ให้มีจิตสำนึกให้คุ้มค่าตอบแทนเงินเดือนที่เป็นภาษีของประชาชน สรุปค่าใช้จ่ายของ ส.ส. 1 คนต่อวันต้องจ่ายวันละ 2 หมื่นกว่าบาท โดยคิดเป็นเดือน 6 .3 แสนบาทต่อเดือนถ้าต่อปี 4 ล้านกว่าบาท โดยคิดจากค่าใช่จ่ายตั้งแต่การเลือกตั้ง ต่อส.ส.1 คนใช้จ่าย 5 ล้านบาท ค่าใช่จ่ายใน สภา ต้องจ่ายเงินเดือนสนับสนุนการ ปฏิบัติการของ ส.ส. อีกเดือนละ 5 แสนบาท ปีละ 5 ล้านบาทต่อคน
อยากให้พรรคตรวจสอบกวดขันวินัย การเข้าประชุมต่ำ สถิติเข้าประชุมสูงแต่ลงมติน้อย อาจโดดตอนลงมติ บางคนไม่เสียบบัตรลงคะแนน บางคนไปประชุมกรรมาธิการ ไม่มาโหวตถือว่าไม่ได้ทำหน้าที่ถ้าไม่ดีขึ้นเลือกตั้งครั้งหน้า พรรคต้องตัดสิทธิการเลือกตั้งครั้งหน้าไม่ควรส่ง ถ้าป่วยเป็นเวลานานและปรนะธานสภาอนุญาตให้ลาป่วย สุขภาพไม่ดี มีโรค หรืออายุมาก ก็ไม่ควรส่งครั้งหน้า รวมทั้งไม่สนับสนุนการใช้แทคติก การไม่ลงมติ ไม่แสดงตน ไม่เข้าประชุม บางครั้งบอยคอต วอลเอาส์ เพื่อใช้วิธีนี้เพื่อต่อรองกันเอง
สำหรับสมุกพก สว. เพิ่งทำเป็นปีแรก ไม่มีสถิติในการเข้าประชุมเพราะยังเปิดเผย แต่มีสถิติการลงมติ ร้อยละ 62 การออกเสียงมติร้อยละ 70 จำนวน 64 คน ออกเสียงต่ำกว่าร้อยะละ 50 จำนวน 32 คน ซึ่งการทำงานของ สว.สรรหากับ สว.เลือกตั้งมีการทำงานไม่ต่างกัน จัดเรตติ้ง สว.ใครสอบได้สอบตก มี ส.ว. ได้ 5 ดาว 5 คนและไม่ได้ดาวเลย 3 คน
แกนนำเครือข่ายข้อมูลนักการเมืองไทย กล่าวว่าความเห็นต่อการทำงานของวุฒิสภา อยากเห็นสถิติการเข้าประชุม สว.ทุกสัปดาห์ เปิดเผยผลการทำงานกรรมมาธิการและอนุกรรมมาธิการ ต่อสาธารณะชนให้มากขึ้น ซึ่งการเข้าประชุมต่ำขอให้ได้ตระหนักจริธรรมความรับผิดชอบให้คุ้มต่อหน้าที่ และเงินเดือนด้วย โดยค่าตอบแทนวันละ 2 หมื่นกว่าบาทเท่ากับ ส.ส.
“นายกฯยิ่งลักษณ์ ติดอันดับเข้าประชุมน้อย ลงมติต่ำ เพราะไม่ได้เข้าประชุมครบทุกครั้ง แต่เข้าประชุมน้อยก็ไม่เหมาะสม น่าจะเข้ามากว่านี้ หวังว่าแรงกดดันจากภาคประชาชนทำให้ ส.ส.เข้าประชุมและทำงานให้มากขึ้น ทำสมุดพกแบบนี้ทำให้นักการเมืองรู้สึกว่ามีคนติดตามดูอยู่ ส.ส.ต้องทำหน้าที่นำเสนอกฎหมาย และยื่นญัญัติทำหน้าที่ตรวจสอบรัฐบาล ทั้งการใช้จ่ายงบประมาณในเรื่องข้าว รถคันแรก หน้าที่เหล่านี้ในช่วงหลังแทบจะไม่มีเลย และส.ส.ของพรรคที่เป็นรัฐบาล เป็นส.ส.เฉยๆไม่ค่อยมีบทบาทในสภา บางตระกูลขาดทั้งตระกูล ส.ส.บางจังหวัดไม่สนใจงานสภาเลย แต่คนเหล่านี้ได้เข้ามาได้หมด เพราะไปงานศพงานแต่งงานบ่อย
นายจรัส กล่าวว่าภาพลักษณ์สภาไทยเป็นสภาฝักถั่ว ขอว่าในชั้นนี้ให้แค่ทำหน้าที่ได้ดี อ่านกฎหมายก่อนลงมติ หรือมองประโยนช์หรือเป็นโทษต่อประชาชนหรือไม่ ในกฎหมายสำคัญที่ผ่านสภา ซึ่งการทำหน้าที่ตรวจสอบเป็นหน้าที่ของนักการเมืองในระบบประชาธิปไตย แต่พรรคการเมืองไทยเป็นพรรครับเหมาประเทศ มีคนตั้งพรรคเพื่อ ไปเป็นรัฐบาล เป็น ส.ส. มารับเหมาประเทศและเหมาส.ส.ได้ด้วย ส.ส.กลายเป็นลูกจ้างพรรค ดังนั้นส.ส.พรรครัฐบาลโหวตสวนมติพรรคไม่ได้ ทำให้ ส.ส.ส่วนใหญ่ในสภาไม่สามารถทำหน้าที่ตรวจสอบได้ เพราะเป็นลูกจ้าง อยากให้ ส.ส.นักการเมือง มีการยกระดับพัฒนาตัวเองเป็น ส.ส.มีคุณภาพ โดยคำนึงถึง ประชาชนในพื้นที่ให้มาก ซึ่งเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนด้วยต้องช่วยกันยกระดับสภาไทยให้เกิดเปลี่ยน แปลงประเทศในอนาคต แต่ตอนนี้ขอแค่ให้เข้าประชุมสภาครบทุกครั้งก่อน
0 - ซ่อมคอมพิวเตอร์นอกสถานที่ บางกะปิ 083-792-5426:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น