มาทำความรู้จักการ์ดจอ (GPU) กันเถอะ
ตั้งแต่อดีตโน๊ตบุ๊คนั้นถูกผลิตมาเพื่อใช้งานนอกสถานที่เป็นหลัก แต่ในปัจจุบันโน๊ตบุ๊คเริ่มจะเป็นที่นิยมมากกว่าคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะไปเสียแล้ว จึงทำให้เริ่มมีการนำการ์ดจอที่มีประสิทธิภาพสูงเข้าไปในตัวโน๊ตบุ๊ต เพื่อให้โน๊ตบุ๊คสามารถใช้งานในด้าน 3มิติ หรือเล่นเกมที่ต้องใช้งานการ์ดจอประสิทธิภาพสูง เพื่อให้ได้การประมวลผลภาพที่รวดเร็วและดียิ่งขึ้น เพราะโน๊ตบุ๊คสำหรับเล่นเกมนั้นหัวใจสำคัญอยู่ที่การ์ดจอนั่นเอง โดยบทความนี้พาคุณไปรู้จักกับการ์ดจอแยกและออนบอร์ด ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร ถ้าจะนำไปเล่นเกมควรจะเลือกการ์ดจอแบบไหน พร้อมกับแนะนำการ์ดจอรุ่นเด่นๆในปัจจุบันครับ
รู้จักกับ การ์ดจอแยก และ การ์ดจอออนบอร์ด
อย่างไรก็ตามผู้ซื้อนีตบุ๊คจะไม่สามารถกำหนดสเปคตามที่ตัวเองต้องการได้ เพราะผู้ผลิตได้กำหนดมาจากโรงงานเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้น การเลือกซื้อโน๊ตบุ๊คพร้อมการ์ดจอที่ถูกใจ จำเป็นต้องพิจารณาดีๆ ในหลายส่วนประกอบกัน ก่อนที่จะตัดสินซื้อ เพราะการ์ดจอก็สำคัญไม่แพ้ ซีพียู เช่นกัน
ในส่วนของโน๊ตบุ๊ตสำหรับพกพา จะเน้นในเรื่องของการประหยัดพลังงาน จึงนิยมใช้การ์ดจอประหยัดพลังงานควบคุ่ไปกับส่วนประกอบอื่นๆ ที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานสูงกว่าโน๊คบุ๊คทั่วๆไป จึงทำให้โน๊ตบุ๊คกลุ่มนี้มีราคาที่สูงขึ้นตามไปด้วย โดยการใช้งานในการ์ดจอระดับนี้จะเหมาะกับการใช้งานเบาๆ เช่น ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกมบนเว็บไซต์ พิมพ์งานเอกสาร เป็นต้น ไปดูกันดีกว่าครับว่ามีการ์ดจอแบบออนบอร์ดรุ่นไหน น่าสนใจกันบ้าง
การ์ดแบบแยก ระดับพื้นฐาน
สำหรับการ์ดจอแบบแยกในระดับนี้ จะมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับทั่วไป เพียงพอต่อการใช้งานขั้นพื้นฐานอย่างการ ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกมบน FaceBook และท่องเว็บไซต์ และจะมีราคาที่ถูกกว่ารุ่นที่ผ่านมาอยู่พอสมควร เหมาะกับน้องๆนักเรียน นักศึกษา ที่จะซื้อไปพิมพ์งานเอกสาร นำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน จะไม่เหมาะกับการนำไปใช้งานประมวลผลหนักๆ เช่น เล่นเกม 3มิติ หรือตัดต่อ เพราะความเร็วในการประมวลผลของการ์ดในระดับนี้จะช้ากว่ารุ่นที่ผ่านมาครับ ไปดูกันดีกว่าครับว่า การ์ดจอในระดับนี้ มีรุ่นไหนที่ แจ่มๆ น่าใช้กันบ้าง
ตัวอย่างการ์ดจอ ระดับพื้นฐาน
การ์ดแสดงผลสัญญาณภาพหรือการ์ดจอ(Display Adapter)รู้จักกับ การ์ดจอแยก และ การ์ดจอออนบอร์ด
การ์ดจอ หรือ ชิปกราฟิค (GPU : Graphics Processing unit) โดยคำที่ได้ยินบ่อยเวลาเราไปเดินเลือกซื้อโน๊ตบุ๊ค คือ การ์ดจอแยก หมายถึงโน๊ตบุ๊คเครื่องนั้นได้ติดตั้งการ์ดจอแยกมาที่ตัวเครื่อง โดยจะทำให้โน๊ตบุ๊คเครื่องนั้นมีประสิทธิภาพในการประมวลผลภาพที่มากขึ้นนั่นเอง เช่น การเล่นเกม 3 มิติรุ่นใหม่ๆ หรือจะเป็นการทำงานด้านการออกแบบต่างๆ ซึ่งการทำงานของการ์ดจอแยกนั้น จะมีประสิทธิภาพที่ดีกว่า การ์ดจอออนบอร์ดที่สามารถใช้งานได้ขั้นพื้นฐานเท่านั้น แต่ก็ใช่ว่าจะไม่มีข้อดีเลยซะทีเดียว ถึงแม้จะใช้งานได้ทั่วๆไปก็ตาม การ์ดจอออนบอร์ดก็ประหยัดไฟกว่าการ์ดจอแยกครับ
อย่างไรก็ตามผู้ซื้อนีตบุ๊คจะไม่สามารถกำหนดสเปคตามที่ตัวเองต้องการได้ เพราะผู้ผลิตได้กำหนดมาจากโรงงานเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้น การเลือกซื้อโน๊ตบุ๊คพร้อมการ์ดจอที่ถูกใจ จำเป็นต้องพิจารณาดีๆ ในหลายส่วนประกอบกัน ก่อนที่จะตัดสินซื้อ เพราะการ์ดจอก็สำคัญไม่แพ้ ซีพียู เช่นกัน
การ์ดจอ ออนบอร์ด
การ์ดจอออนบอร์ดส่วนใหญ่จะพบในโน๊ตบุ๊ค 2 กลุ่มหลักๆคือ โน๊ตบุ๊คราคาประหยัด และโน๊ตบุ๊คที่เน้นพกพานั่นเองครับ โดยโน๊ตบุ๊คทั้ง 3 กลุ่มนั้นมีราคาที่แตกต่างกันออกไป สำหรับโน๊ตบุ๊คราคาประหยัดนั้นเลือกใช้การ์จอออนบอร์ดก็เพื่อลดต้นทุนในการผลิต และส่วนอื่นๆภายในตัวเครื่องก็จะมีต้นทุนไม่สูงมากนัก จึงมีประสิทธิภาพในการทำงานขั้นพื้นฐานเท่านั้น แต่ในปัจจุบันก็มีการ์ดจอ ออนบอร์ดที่สามารถเล่นเกมได้แล้ว คือ Intel GMA 3000 รุ่นใหม่จากIntel ที่สามารถเล่นเกมระดับกลางๆ ได้ ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมอยู่ในขณะนี้
ในส่วนของโน๊ตบุ๊ตสำหรับพกพา จะเน้นในเรื่องของการประหยัดพลังงาน จึงนิยมใช้การ์ดจอประหยัดพลังงานควบคุ่ไปกับส่วนประกอบอื่นๆ ที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานสูงกว่าโน๊คบุ๊คทั่วๆไป จึงทำให้โน๊ตบุ๊คกลุ่มนี้มีราคาที่สูงขึ้นตามไปด้วย โดยการใช้งานในการ์ดจอระดับนี้จะเหมาะกับการใช้งานเบาๆ เช่น ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกมบนเว็บไซต์ พิมพ์งานเอกสาร เป็นต้น ไปดูกันดีกว่าครับว่ามีการ์ดจอแบบออนบอร์ดรุ่นไหน น่าสนใจกันบ้าง
ตัวอย่างการ์ดจอ ออนบอร์ด
จากรูปจะเห็นว่าการ์ดจอแบบออนบอร์ดจาก Intel จะได้คะแนนมากที่สุดในตอนนี้
เนื่องจากเป็นการ์ดจอรุ่นใหม่กว่ารุ่นอื่นๆ จึงทำให้การประมวลผลภาพทำออกมาได้ดีนั่นเอง
เนื่องจากเป็นการ์ดจอรุ่นใหม่กว่ารุ่นอื่นๆ จึงทำให้การประมวลผลภาพทำออกมาได้ดีนั่นเอง
ตัวอย่างสเปคการ์ดจอ ออนบอร์ด
การ์ดจอแยก
สำหรับการ์ดจอแยกนั้นจะพบในโน๊ตบุ๊คที่มีประสิทธิภาพสูงพอสมควร เนื่องจากการ์ดจอแบบแยกมีต้นทุนการผลิตที่สูงกว่าการ์ดจอแบบออนบอร์ด จึงทำให้โน๊ตบุ๊คที่มีการ์ดจอแบบแยก จะมีราคาที่สูงตามขึ้นไปด้วย อย่างไรก็ตามราคาที่เพิ่มขึ้นมาของการ์ดจอแบบแยกนั้น สิ่งที่ได้กลับมาก็คือประสิทธิภาพในการประมวลผลภาพที่สูงขึ้นตามไปด้วย เพราะการ์ดจอแบบแยกทำงานได้รวดเร็วกว่า และมีประสิทธิภาพที่มากกว่าการ์ดจอแบบออนบอร์ด ทำให้การใช้งานหนักๆ ไม่มีติดขัดแต่อย่างใด ไม่ว่าจะเป็นการเล่นเกมภาพแบบ 3มิติ หรือจะเป็นการทำงานด้านตัดต่อ หรือ กราฟิค ที่มีความละเอียดสูง ก็สามารถทำได้อย่างไม่มีติดขัด แต่สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เลย ก็คือร์ดจอแบบแยกมีอัตราการกินไฟที่เยอะกว่าการ์ดจอแบบออนบอร์ดทำให้ระยะเวลาการใช้งานของแบตเตอรี่มีน้องลง และยังมีความร้อนที่สูงกว่าอีกด้วย อย่างไรก็ตามการ์ดจอแบบแยกก็ยังเป็นที่นิยมในปัจจุบันอยู่ดี สำหรับยี่ห้อที่เป็นที่นิยมอยู่ในขณะนี้คงจะเป็นใครไม่ได้นอกเสียจาก 2 ยักษ์ใหญ่ อย่าง nVidia และ AMD/ATI ที่เป็นคู่แข่งกันตลอดมา
การ์ดจอแบบแยก ระดับสูง
จุดเด่นของการ์ดจอรุ่นนี้ คงจะเป็นในเรื่องการการเล่นเกม เพราะการ์ดจอระดับนี้จะมีการประมวลผลภาพที่ดีกว่าการ์ดจอรุ่นอื่นๆ อย่างมาก คะแนนที่ได้จากการทดสอบก็เช่นกัน ค่อนข้างจะทำออกมาได้ดีกว่า แต่ก็ต้องแลกมาด้วยราคาที่แพง และอัตราการใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ที่มากกว่าการ์ดจอรุ่นอื่นๆ อย่างไรก็ตามถ้าเสียบปลั๊กเวลาใช้งานก็คงไม่เกิดผลเสียแต่อย่างใดครับ ซึ่งแน่นอนว่าในปัจจุบันนี้มีเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามารองรับแล้ว เช่น เทคโนโลยีจากค่ายnVidia ที่พัฒนาเทคโนโลยีในชื่อว่า nVidia Optimus ออกมาเพื่อทำงานร่วมกับซีพียู ช่วยในเรื่องการประหยัดพลังงาน คือ เวลาเราใช้งานไม่หนักมากเครื่องจะใชการ์ดจอแบบออนบอร์ด แต่ถ้าเราใช้งานการประมวลผลที่เยอะมากๆ เครื่องก็จะใช้งานการ์ดจอแบบแยกนั่นเอง โดยเครื่องจะประมวลผลจากการใช้งานของเราครับ เหมาะกับผู้ที่จะซื้อไปเล่นเกมแบบโหดๆ ตัดต่อ หรือต้อใช้งานในการประมวลผลภาพสูงครับ ไปดูกันดีกว่าครับ ว่าการ์ดจอแบบแยกในรุ่นนี้มีรุ่นไหนที่น่าสนใจกันบ้าง
ตัวอย่างการ์ดจอแยกระดับสูง
สำหรับการ์ดจอแบบแยก ระดับสูงนี้ ATI เป็นผู้นำ เนื่องจากคะแนนโดยรวมทำออกมาได้ดีกว่ารุ่นอื่นๆครับ
และทาง nVidia ก็ทำคะแนนออกมาได้ดีไม่แพ้กันเลย
และทาง nVidia ก็ทำคะแนนออกมาได้ดีไม่แพ้กันเลย
ตัวอย่างสเปคการ์จอ ระดับสูง
การ์ดจอแบบแยก ระดับกลาง
สำหรับการ์ดจอในรุ่นนี้ก็จะมีประสิทธิภาพด้อยกว่าการ์ดจอแบบแยกระดับสูง แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะทำอะไรไม่ได้เลย เพราะการ์ดจอในรุ่นนี้ก็ยังทำงานได้ดีไม่แพ้กัน ไม่ว่าจะเป็น เล่นเกม(แต่เกมอาจจะอยู่ในระดับกลางๆ) ตัดต่อ ก็ยังสามารถทำได้เช่นกัน แถมยังมีราคาที่ถูกกว่า และอัตราการกินไฟก็น้อยกว่าอีกด้วย อย่างไรก็ตามประสิทธิภาพก็คงจะอยู่ในระดับกลางครับ ไม่สามารถเทียบกับระดับสูงได้ เหมาะกับผู้ซื้อที่นำไปเล่นเกมระดับกลาง ตัดต่อ หรือใช้งาน Photo shop ในระดับนึงครับ มาดูกันดีกว่าครับว่า การ์ดจอแบบแยกในระดับนี้มีรุ่นไหนน่าสนใจกันบ้าง
ตัวอย่างการ์ดจอแยก ระดับกลาง
สำหรับในรุ่นนี้ nVidia มาแรงตามคาด แต่คะแนนจาก AMD จะมากที่สุด
แน่นอนว่า อันดับ และ คะแนน ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพการทำงานโดยรวมด้วยครับ
แน่นอนว่า อันดับ และ คะแนน ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพการทำงานโดยรวมด้วยครับ
ตัวอย่างสเปคการ์ดจอ ระดับกลาง
สำหรับการ์ดจอแบบแยกในระดับนี้ จะมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับทั่วไป เพียงพอต่อการใช้งานขั้นพื้นฐานอย่างการ ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกมบน FaceBook และท่องเว็บไซต์ และจะมีราคาที่ถูกกว่ารุ่นที่ผ่านมาอยู่พอสมควร เหมาะกับน้องๆนักเรียน นักศึกษา ที่จะซื้อไปพิมพ์งานเอกสาร นำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน จะไม่เหมาะกับการนำไปใช้งานประมวลผลหนักๆ เช่น เล่นเกม 3มิติ หรือตัดต่อ เพราะความเร็วในการประมวลผลของการ์ดในระดับนี้จะช้ากว่ารุ่นที่ผ่านมาครับ ไปดูกันดีกว่าครับว่า การ์ดจอในระดับนี้ มีรุ่นไหนที่ แจ่มๆ น่าใช้กันบ้าง
ตัวอย่างการ์ดจอ ระดับพื้นฐาน
มาถึงในรุ่นนี้ AMD แซงในโค้งสุดท้ายครับ โดยทำผลคะแนนโดยรวมได้ดีกว่า
จึงทำได้ให้อันดับ 1 ไปครองนั่นเอง
จึงทำได้ให้อันดับ 1 ไปครองนั่นเอง
ตัวอย่างสเปคการ์ดจอ ระดับพื้นฐาน
สรุป
เป็นอย่างไรกันบ้างครับกับบทความแนะนำการ์ดจอโน๊ตบุ๊ค ทางทีมงานโน๊ตบุ๊คโฟกัสหวังว่าบทความนี้จะเป็นประโยชน์แก่ท่านผู้อ่าน ซึ่งคะแนนที่ของแต่ละรุ่นนั้น เป็นคะแนนที่ได้มาจริง ไม่ได้กำหนดขึ้นมาเอง โดยในบางรุ่นคะแนนอาจจะเยอะแต่ทำไมถึงไม่ได้อันดับ 1 เพราะว่าอันดับในแต่ละอันดับนั้นจะขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพโดยรวมของการ์ดจอ ไม่ใช่แค่เพียงคะแนนใดคะแนนหนึ่งเท่านั้น จึงทำให้การ์ดจอบางรุ่นถึงจะได้คะแนนเยอะแต่โดยรวมอาจจะได้คะแนนที่ไม่ได้ประสิทธิภาพมากพอที่จะเป็นผู้นำในแต่ละกลุ่มนั่นเอง และการ์ดจอนั้นก็มีประสิทธิภาพในการทำงานได้ในระดับที่ตัวของมันทำได้เท่านั้นนะครับ ถ้าซื้อโน๊ตบุ๊คที่มีการ์ดจอระดับพื้นฐาน แต่ท่านผู้อ่านนำไปใช้ประมวลผลภาพของเกมระดับสูงๆ ก็จะทำให้การใช้งานไม่ราบรื่นอย่างที่ต้องการ ซึ่งแน่นอนว่าขึ้นอยู่กับการใช้งานของแต่คนด้วย เพื่อให้ได้การ์ดจอที่ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพอย่างที่เราต้องการนั่นเอง สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบคุณ แฟนๆโน๊ตบุ๊คโฟกัสทุกท่านที่เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเราทุกวัน สำหรับความผิดพลาดประการใดๆ ต้องขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย
เป็นอุปกรณ์ที่มีความสลับซับซ้อนมากในปัจจุบัน ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลภายในแบบดิจิตอลเพื่อเปลี่ยนเป็นสัญญาณภาพส่งออกไปที่จอภาพ ส่วนประกอบหลักบนตัวการ์ดแสดงผลก็คือ ชิปประมวลผลกราฟฟิก (GPU)ซึ้งทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลทางด้านกราฟิกโดยเฉพาะ เช่น ชิปของ Nvidia และ ATI เป็นต้น
ส่วนประกิบของการ์ดจอแสดงผล
อินเตอร์เฟส (Interface) หรือระบบบัสของตัวการ์ด
เป็นส่วนที่ใช่เชื่อมต่อเข้ากับระบบบัสที่อยู่บนเมนบอร์ด มีลักษณธเป็นแถบทองแดงยื่นออกมาด้านข้างของตัวการ์ด ใช้เสียบลงบนช่องเสียบ (Slot) บนเมนบอร์ดที่เป็นชนิดเดียวกันกับตัวการ์ด ปัจจุบันการ์ดจอมีอินเตอร์เฟสให้เลือกใช้อยู่ 2 แบบคือ AGP และ PCI Express ซึ้งมีรายระเอียดดังนี้
เป็นส่วนที่ใช่เชื่อมต่อเข้ากับระบบบัสที่อยู่บนเมนบอร์ด มีลักษณธเป็นแถบทองแดงยื่นออกมาด้านข้างของตัวการ์ด ใช้เสียบลงบนช่องเสียบ (Slot) บนเมนบอร์ดที่เป็นชนิดเดียวกันกับตัวการ์ด ปัจจุบันการ์ดจอมีอินเตอร์เฟสให้เลือกใช้อยู่ 2 แบบคือ AGP และ PCI Express ซึ้งมีรายระเอียดดังนี้
- AGP (Accelerated Graphic Port)
เป็นระบบบัสที่มีความถี่ในการทำงานที่ 66.6 MHz ด้วยความกว้างบัสขนาด 32 บิตมาตร
ฐานเริ่มต้นคือ AGP 1X ซึ่งให้ Bandowidth ที่ 266 MB/sec (โดยประมาณ) แต่สำหรับมาตรฐานล่าสุดที่ใช้งานกันอยู่ในปัจจุบันคือ AGP 8X ซึ่งให้ Banidth สูงสุดที่ 2132 MB/sec หรือ 213 GB/sec
เป็นมาตรฐานของระบบบัสแบบใหม่ที่ใช้วิธีการรับส่งข้อมูลกันในแบบอนุกรม (Serial) สองทิศทางทั้งไปและกลับ ซึ่งถูกออกแบบให้เลือกใช้ความเร็วมากน้อยได้ตามต้องการของอุปกรณ์แต่ละชนิด และยังให้แบนด์ดิวธ์ (Bandwidth) เพิ่มขึ้นอีกหลายเท่าตัว โดยมาตรฐานเริ่มต้นคือ PCI Express x1 (นำมาใช้แทน PCI เดิม) ให้แบนด์วิดธ์ทั้งไปและกลับรวมกันสูงสุด 500 MB/sec แต่สำหรับมาตรฐานล่าสุดที่ใช้งานกันอยู่ในปัจจุบันคือ PCI Express x16 (ใช้แทน AGP เดิม) นั้น ให้แบนด์วิดธ์ทั้งไปและกลับรวมกันสูงสุดมากถึง 8000 MB/sec หรือ 8 GB/sec เลยทีเดียวนอกจากนี้บนเมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆหลายรุ่นยังรองรับเทคโนโลยี SLI(Scalable Link Interface multi-GPU Technology) โดยมีการติดตั้งสล็อตแบบ PCI Express x16 นี้มาให้พร้อมกันถึง 2 ตัวเพื่อช้วยเพิ่มประสิทภาพในการประมวลผลกราฟิกให้สูงขึ้นอีกด้วย
ฐานเริ่มต้นคือ AGP 1X ซึ่งให้ Bandowidth ที่ 266 MB/sec (โดยประมาณ) แต่สำหรับมาตรฐานล่าสุดที่ใช้งานกันอยู่ในปัจจุบันคือ AGP 8X ซึ่งให้ Banidth สูงสุดที่ 2132 MB/sec หรือ 213 GB/sec
- PCI Express
เป็นมาตรฐานของระบบบัสแบบใหม่ที่ใช้วิธีการรับส่งข้อมูลกันในแบบอนุกรม (Serial) สองทิศทางทั้งไปและกลับ ซึ่งถูกออกแบบให้เลือกใช้ความเร็วมากน้อยได้ตามต้องการของอุปกรณ์แต่ละชนิด และยังให้แบนด์ดิวธ์ (Bandwidth) เพิ่มขึ้นอีกหลายเท่าตัว โดยมาตรฐานเริ่มต้นคือ PCI Express x1 (นำมาใช้แทน PCI เดิม) ให้แบนด์วิดธ์ทั้งไปและกลับรวมกันสูงสุด 500 MB/sec แต่สำหรับมาตรฐานล่าสุดที่ใช้งานกันอยู่ในปัจจุบันคือ PCI Express x16 (ใช้แทน AGP เดิม) นั้น ให้แบนด์วิดธ์ทั้งไปและกลับรวมกันสูงสุดมากถึง 8000 MB/sec หรือ 8 GB/sec เลยทีเดียวนอกจากนี้บนเมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆหลายรุ่นยังรองรับเทคโนโลยี SLI(Scalable Link Interface multi-GPU Technology) โดยมีการติดตั้งสล็อตแบบ PCI Express x16 นี้มาให้พร้อมกันถึง 2 ตัวเพื่อช้วยเพิ่มประสิทภาพในการประมวลผลกราฟิกให้สูงขึ้นอีกด้วย
ชิปประมวลผลกราฟิก (GPU: Graphic Proessing Unit)
เป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่สุดบนตัวการ์ด ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลด้านกราฟิกโดยเฉพาะ ซึ่งช่วยลดภาระในการทำงานของซีพียูลงรวมทั้งเพิ่มความเร็วในการแสดงภาพ 2 และ 3 มิติ ทั้งภาพนิ่งและภาพเครื่องไหวบนจอแสดงผลปัจจุบันบริษัทที่แข่งขันกันผลิตชืปประมวลผลกราฟิกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการนำไปใช้ประมวลผลภาพกราฟิกแบบ 3 มิติสำหรับเกมต่างๆที่ผุ้ใช้โดยทั้วไปรู้จักกันดีมีอยู่ 2 บริษัทใหญ่ คือ nVIDIA ผุ้ผลิตชิปประมวลผลกราฟิกในตะกูล GeForce ซีรี่ส์ต่างๆ เช่น Series 7 และ 6 รุ่น 7950, 7900, 6800 และ 6600 เป็นต้น และ บริษัท ATI ผูเผลิตชิปประมวลผลกราฟิกในตระกูล Radeon ซีรี่ส์ต่างๆ เช่น Series X1900, X1800, X800 และ X550 เป็นต้น
RAMDAC หรือ RAM Digital-to-Analog Convertor เป็นชิปที่ทำหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิตอลใน RAM ให้เป็นสัญญาณอนาล็อกเพื่อส่งไปยังจอภาพ โดยการวนอ่านข้ อมูลซ้ำๆกันไปเรื่อยๆตามอัตรา Refresh Rate ซึ่งยิ่งตั่งให้สูงเท่าไรก็ต้แงทำงานเร็วขึ้นเท่านั้น เช่น Refresh Rate 75 Hz ก็คือ RAMDAC จะต้องวนอ่านข้อมูลไปสร้างภาพซ้ำๆกัน 75 ครั้งต่อวินาทีตามไปด้วย ดังนั้นยิ่ง RAMDAC มีความเร็วสูงมากก็ยิ่งรับ Refresh Rate ได้สูงตามไปด้วย เช่น RAMDAC ที่ 300 MHz ก็น่าจะให้ภาพที่มีคุณภาพดีกว่ารุ่นที่มีความเร็วแค่ 150 MHz เป็นต้น
ช่องสัญญาณหรือช่องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆเป็นช่องต่างๆของการ์ดจอที่เอาไว้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก เช่น จอภาพ (CRT/LCD) จอโทรทัศน์ และกล้องถ่ายวิดิโอ เป็นต้น สำหรับการ์ดจอโดยทั่วๆไปในปัจจุบันมักจะมีช่องต่างๆดังนี้
หน่วยความจำบนตัวการ์ด (VIRAM : Video RAM)
ตัวแปลงสัญญาณสู่จอภาพ (RAMDAC)
ทำหน้าที่รับเอาข้อมูลภาพที่ถูกส่งมาจากหน่วยประมวลผลกราฟิก (GPU) มาพักหรือจัดเก็บไว้ เพื่อจะนำไปแสดงผลบนจอภาพในแต่ละเฟรมหรือเรียกว่าเป็น Frame Buffer นั่นเองหน่วยความจำบนตัวการ์ดนี้จะคอยทำงานร่วมกับหน่วยประมวลผลกราฟิก(GPU) อยู่อย่างใกล้ชิดแบบเดียวกับหน่วยความจำหลัก หรือแรมบนเมนบอร์ดทำงานร่วมกับหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ดังนั้นถ้า VRAM ยังมีความเร็วและมีความจุสูงมากขึ้นเท่าไร ก็จะยิ่งช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพมีตั่งแต่ SDRAM, RDRAM, DDR-SDRAM, DDR2 และ DDR3 (GDDR3) ซึ่งแต่ละชนิดต่างก็มีประสิทธิภาพ และราคาที่แตกต่างกันไป
RAMDAC หรือ RAM Digital-to-Analog Convertor เป็นชิปที่ทำหน้าที่แปลงข้อมูลดิจิตอลใน RAM ให้เป็นสัญญาณอนาล็อกเพื่อส่งไปยังจอภาพ โดยการวนอ่านข้ อมูลซ้ำๆกันไปเรื่อยๆตามอัตรา Refresh Rate ซึ่งยิ่งตั่งให้สูงเท่าไรก็ต้แงทำงานเร็วขึ้นเท่านั้น เช่น Refresh Rate 75 Hz ก็คือ RAMDAC จะต้องวนอ่านข้อมูลไปสร้างภาพซ้ำๆกัน 75 ครั้งต่อวินาทีตามไปด้วย ดังนั้นยิ่ง RAMDAC มีความเร็วสูงมากก็ยิ่งรับ Refresh Rate ได้สูงตามไปด้วย เช่น RAMDAC ที่ 300 MHz ก็น่าจะให้ภาพที่มีคุณภาพดีกว่ารุ่นที่มีความเร็วแค่ 150 MHz เป็นต้น
ช่องสัญญาณหรือช่องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่างๆเป็นช่องต่างๆของการ์ดจอที่เอาไว้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก เช่น จอภาพ (CRT/LCD) จอโทรทัศน์ และกล้องถ่ายวิดิโอ เป็นต้น สำหรับการ์ดจอโดยทั่วๆไปในปัจจุบันมักจะมีช่องต่างๆดังนี้
D-Sub (VGA) หรือ VGA Connector เป็นคอนเน็คเตอร์แบบ 15-Pin รูปตัว D มักพบเห็นได้ทั่วไป ใช้สำหรับสีญญาณภาพแบบอนาล็อก (Analog) ที่ต่อจากการ์ดแสดงผลไปยังจอภาพ ซึ่งต่อชนิดนี้จะมีทั้งที่ใช้กับจอ CRT, LCD และ Projector ด้วย
DVI Connector ใช้สำหรับการส่งสัญญาณภาพแบบดิจิตอล (Digital) ไปยังจอภาพ ซึ้งจอภาพที่ใช้จะต้องเป็นแบบที่รับสัญญาณดิจิตอลได้ด้วยเช่นกัน ข้อดีคือไม่ต้องผ่านการแปลงให้เป็นสัญญาณอนาล็อกก่อน ภาพได้จึงนิ่งสนิทและมีความเพี้ยนน้อยที่สุด ปัจจุบันมักพบเห็นได้ทั่วไปบนการ์ดแสดงผลจอ LCD รุ่นใหม่ๆ
S-Video ใช้สำหรับส่งสัญญาณภาพออกสู่จอทีวีผ่านสาย S-Video สัญญารภาพที่ถูกส่งอออกไปจะมีความละเอียดคมชัดกว่าช่องต่อ TV-Out ด้วยเหตุนี้การ์ดจอรุ่นใหม่ๆจึงมักจะมีช่องต่อ S-Video นี้มาให้แทน TV-Out เสมอ
TV-Out หรือช่องต่อ Composite ใช้สำหรับส่งสัญญาณภาพไปสู่จอทีวีผ่านทางสาย AV เพื่อเสียบเข้ากับช่อง Video-in ของจอทีวี แต่สัญญาณภาพที่ได้จะมีคุณภาพต่ำกว่า S-Video ดังนั้นส่วนใหญ่จึงมักจะบบพบช่องต่อ TV-Out นี้บนการ์ดจอรุ่นเก่าๆS-Video ใช้สำหรับส่งสัญญาณภาพออกสู่จอทีวีผ่านสาย S-Video สัญญารภาพที่ถูกส่งอออกไปจะมีความละเอียดคมชัดกว่าช่องต่อ TV-Out ด้วยเหตุนี้การ์ดจอรุ่นใหม่ๆจึงมักจะมีช่องต่อ S-Video นี้มาให้แทน TV-Out เสมอ
0 - ซ่อมคอมพิวเตอร์นอกสถานที่ บางกะปิ 083-792-5426:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น